記事

คนญี่ปุ่นทำอะไรบ้างในช่วงปีใหม่ของญี่ปุ่น (お正月: oshogatsu)

〜によって December 30, 2020 コメントはありません

1. การประดับตกแต่งในช่วงปีใหม่ (正月飾り: Shogatsu Kazari)

เมื่อใกล้จะถึงวันขึ้นปีใหม่ของทุกปี คนญี่ปุ่นจะมีการทำเครื่องหมายเพื่อเตรียมต้อนรับเทพเจ้า “Toshigami-sama” เข้ามาในบ้านในวันขึ้นปีใหม่ ที่เชื่อกันว่าเทพเจ้านั้นจะนำพืชผลและสุขภาพที่ดีมีความสุขมาสู่ครอบครัวตลอดทั้งปี โดยทั่วไปคนญี่ปุ่นจะมีการประดับประดาตกแต่งตู้แท่นบูชาเทพในบ้านและตรงทางเข้าหน้าบ้าน จุดประสงค์ของการตกแต่งบ้านของคนญี่ปุ่นเพื่อแสดงให้เทพเจ้าประจำปีเห็นว่าเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่เหมาะสำหรับต้อนรับเทพเจ้านั่นเอง

คางามิ โมจิ (鏡餅 : Kagamimochi) 

ของประดับตกแต่งตู้แท่นบูชาในบ้านสำหรับต้อนรับวันขึ้นปีใหม่ ที่ทำออกมาเพื่อบูชาเทพเจ้าแห่งวันปีใหม่ Kagamimochi คือ โมจิ ที่ปั้นเป็นรูปกลมแบนมีสองลูกสองขนาดวางซ้อนกันอยู่(เป็นตัวแทนของพระจันทร์ และ พระอาทิตย์) และข้างบนวางด้วยผลส้มที่ชื่อไดไดจะทำการตั้งไว้ภายในบ้าน เพื่อถวายแด่เทพเจ้าในเทศกาลปีใหม่ จากนั้นเมื่อถึงวันที่ 11 มกราคม ซึ่งเป็นวัน Kagami biraki ชาวญี่ปุ่นก็จะนำโมจิทั้งสองลูกมาทาน เพื่อเป็นสิริมงคลของคนในบ้านตามความเชื่อว่า จะช่วยให้มีอายุให้ยืนยาว

คาโดมัทสึ (門松 : Kadomatsu)

ของประดับตกแต่งบ้าน ในช่วงปีใหม่ของญี่ปุ่นแบบดั้งเดิม เรียกว่า “Kadomatsu” จะวางอยู่เป็นคู่ที่ทางเข้าด้านหน้าที่สองฝั่งของ ประตูบ้านหรืออาคารสำนักงาน เพื่อที่จะต้อนรับ วิญญาณบรรพบุรุษ หรือ เทพเจ้าของการเก็บเกี่ยวและต้อนรับเทพเจ้าแห่งวันปีใหม่ ที่จะนำความสุข และความโชคดี นำสิ่งดีๆมาให้ในปีใหม่ คาโดมัสซึ จะทำจากไม้ไผ่และกิ่งสน โดยการนำต้นไผ่สามต้นมัดรวมกัน แล้วตัดในแนวเฉียงโดยใช้ใบไผ่พันไว้รอบๆหรือ อาจจะเพิ่มเติมสิ่งมงคลอื่นเข้าไป ตามแต่ความนิยมของแต่ละท้องถิ่น


ชิเมะ คาซาริ (しめ飾り : Shime-kazari)

ชิเมะคาซาริ ประกอบด้วยเชือกศักดิ์สิทธิ์ ทำด้วยฟางข้าวนำมามัดกันเป็นฟ่อนใหญ่ๆตามแบบชินโต โดยมีแถบกระดาษสีขาว ที่เรียกว่า ชิเดะ (Shide, 四手/紙垂) ห้อยเป็นพู่ประดับ ตกแต่งด้วย กิ่งไม้ รวงข้าว ส้มไดได กุ้งมังกร ใบเฟิร์น และอื่นๆ
-異なる漢字(代々)で書かれた日本語の「だいだい」(橙)は、「世代から世代へ」と翻訳できます。
-エビは縁起の良いシンボルです長寿のもの
-シダの葉は、幸せな家族を持つことへの希望と欲望の象徴です。世代から世代へ
ほとんどの日本人は、バルコニーや玄関や裏口の外にシメカザリを掛けます。あなたの神が通り抜ける道を象徴するために尊敬される家のために神道の宗教は神聖なロープで飾られているかもしれません。または、しめ縄(しめ縄)。お祭りが終わると、一部の人々はお寺や神社でしめかざりを燃やし、灰を集めます。悪霊を追い払うために出入り口の前に配置

ชิเมะ คาซาริ จะมีรูปต่างแตกต่างกันไปตามท้องถิ่น

2. การทำความสะอาดใหญ่ของญี่ปุ่น “โอะ โซจิ” (大掃除 : Oosouji)

日本のお正月祭りで大掃除をした「おぞうじ」新年のほとんどの東アジアの国々には、同様の伝統があります。掃除していますクリーニング大be日、東洋の信仰による意味汚れを一掃してきれいにします蓄積する不運昨年の不運はすべて一掃されるお正月には、来年の新年を歓迎します。日本人は毎年12月13日に家の掃除を始めます。それは大掃除として知られている大New日の準備の最初の日です。日本人は家の掃除をして、日本各地に来る新年を迎えます。さらにクリーニングがあります一年中蓄積した汚れと不運を一掃しますまた、心を浄化する日と、新年の前の12月31日の間に考えられました本日おみそか(大晦日)に電話し、おみそか日にお掃除を完了します日中と夜に来年の新年を迎えるのを待つ時間です。

3. การตีระฆังในช่วงวันส่งท้ายปีเก่า Joya no Kane (除夜の鐘 : Joyano kane : Bell ringing)

日本での大ve日の鐘12月31日の夜に入ると、お正月の前夜に「お正月の鐘」と呼ばれる寺の大きな鐘が次第に108回鳴ります。日本のお寺では、新年の前に108の鐘があります。真夜中まで真夜中にベルが鳴ります新しい年に入ると、最後にもう1つヒットします
人間に存在する108の邪悪な欲望を追放すると考えられていますチャイムは、新年を迎えるために罪を洗い流し、欲望を取り除くのに役立つと信じられています。純粋な心で

4. ประเพณีกินโซบะ ในวันสิ้นปี โทชิโคชิโซบะ (年越しそば: Toshikoshi Soba)

เป็นประเพณีที่มีมานาน นับตั้งแต่สมัยเอโดะ โดยจะนำโซบะมารับประทานกัน เพื่อความเป็นสิริมงคล และอธิษฐานขอพร “ขอให้มีชีวิตอยู่อย่างยืนยาว และแข็งแรง” อาจจะเนื่องจากเส้น โซบะ นั้นมีลักษณะเป็เส้นยาว จึงทำให้มีความเชื่อกันว่า เป็นการขอพรให้มีสุขภาพดีและมีชีวิตที่ยืนยาว เหมือนเส้นโซบะ โดยจะต้องทานให้หมดเกลี้ยง ก่อนเที่ยงคืน ถ้าหากกินข้ามคืน และทานไม่หมด สิ่งต่างๆก็จะหยุดชะงักลงจะไม่เป็นมงคล

5. ฮัตสึโมเดะ Hatsu Moude (初詣)

เป็นคำเรียกการไปไหว้พระช่วงปีใหม่ของที่ญี่ปุ่น คล้ายๆคนไทยเราที่ไปไหว้พระช่วงปีใหม่ ตักบาตรทำบุญ คนญี่ปุ่นเองก็ทำเหมือนกัน แต่เค้าจะเริ่มกันตั้งแต่ช่วงดึกของวันที่ 31 ธันวาคมเลย ส่วนใหญ่ก็จะไปเข้าแถวรอกันตั้งแต่ดึก เพื่อให้ได้ไหว้กันตอนเช้าปีใหม่ แล้วปริมาณคนที่ไปนี่ก็ไม่ใช่น้อยๆ ถ้าเป็นวัดหรือศาลเจ้ายอดฮิต ต่อแถวกัน5-6ชั่วโมงเลยก็มี นอกจากไปต่อแถวไหว้พระปีใหม่ตอนกลางดึกคืนสิ้นปีแล้ว เทศกาลไหว้พระปีใหม่ของคนญี่ปุ่นก็จะยาวต่อเนื่องกัน 3 วันแรกของปีเลย นอกจากจะไปไหว้พระเพื่อขอพรแล้ว ก็จะนำโอมาโมริ (เครื่องราง) อันเก่าไปฝากที่ศาลเจ้าเพื่อทำลายและซื้อเครื่องรางชิ้นใหม่กันค่ะ
神社に敬意を払い、2回お辞儀をし、手を2回たたいて再びお辞儀をする方法。神殿での祝福については、パノムの手がいつものように仏に敬意を払うようにします。
人気の寺院は新年に行く。日本人はトップヒットに行きたい簡単に旅行できます。おすすめの場所は3つあります

1.明治神宮明治神宮
この神社は明治天皇とその妻の記念碑として1920年に建てられました。 「皇后将軍」とは、34年もの間お正月に長い間参拝者数が最も多い神社で、約310万人が来て参拝します。今年の最初のマントラ(初mode)は、伝統的な神道の結婚式で有名な神社でもあります。最も重要なことは、愛の願いを祝ったことです。多くのカップルがこの神殿で儀式を行うためにもやって来ます。

1.山手線に電車を乗り、原宿駅で下車し、右折します。少し歩くと、神社の入り口があります。
2.地下鉄、自由田を織り、明治神宮前駅で下車。


2.成田山新勝寺成田山新勝寺成田山新勝寺
千葉県成田市の寺院は、美しい建築の寺院です。元旦には、約300万人の人々が祝福を求めにやって来ます。これは、明治神宮に続く2番目の場所に敬意を表して最も人気のある寺院と考えられています。インテリアは、日本美術の独自性を維持するインド仏教建築で構成されています。毎年、観光客はルアンポー「不動明」(火の神)からの祝福を聖なるものに求めにやって来ます祝福はさまざまな事故から安全であることで知られています別の優れた機能はSomonという名前のエントランスは、1,070周年記念式典の際に建てられました。

1.成田線で成田駅下車
2.京成本線に電車を乗り、京成成田駅で下車します。


3.浅草寺浅草寺
すべての観光客が訪れた人気の寺院、浅草寺このお寺では、新年も敬意を払うのが人気で、来場者数は285万人です。

多くの電車に乗って浅草駅で下車し、少し歩くことができます。

ส่วนเครื่องรางโอมาโมรินั้นก็มีหลากหลายแบบ เช่なぜ
「家内安全 (ครอบครัวแคล้วคลาดปลอดภัย)」
「交通安全 (เดินทางปลอดภัย)」
「学業成就 (ประสบความสำเร็จด้านการเรียน)」
「合格祈願 (สอบผ่าน)」
「安産守り (คลอดลูกปลอดภัย)」
「身代わり守り (เครื่องรางตัวแทน)」เป็นต้น

เราสามารถซื้อตามเรื่องที่ตัวเองปรารถนาได้เลยค่ะ

6. ชมพระอาทิตย์แรกของปี “ฮัตซึฮิโนะเดะ” (初日の出 : Hatsuhinode)

日本人は年の最初の太陽を見る聖なる力を持っているこの伝統は、修道士に敬意を表した後、明治時代(1868-1912)に始まりました。一緒に旅行します
1月1日の朝に山や海に沿って新年の最初の太陽を見に行き、家族が一年を通して幸せで健康になるように祈ります。

7. อาหารปีใหม่ของชาวญี่ปุ่น โอะเซะชิ-เรียวริ (お節料理 : Osechi-ryori)

อาหารสำหรับเทศกาลปีใหม่ในญี่ปุ่น เป็นขนบประเพณีที่มีมาตั้งแต่ยุคเฮอัง สามวันหลังวันขึ้นปีใหม่ ชาวญี่ปุ่นจะรับประทานอาหารในเทศกาลปีใหม่ ที่เรียกว่า “โอะเซะชิ-เรียวริ”
โอะเซะชิ-เรียวริ เป็นอาหารที่รับประทานในช่วงปีใหม่ของญี่ปุ่น ทำขึ้นมาเพื่อแสดงความยินดี ประเพณีโอะเซะชิ-เรียวริ นี้มีที่มาจากประเทศจีน และได้เข้ามาเผยแพร่ในประเทศญี่ปุ่น มีจำนวนอาหารมากมายหลายชนิด มีทั้งอาหารแบบแห้ง ซึ่งเป็นอาหารที่เก็บได้นานและแบบปรุงแต่ง และอาจจะมีการดองในเหล้าด้วย เป็นต้น ซึ่งในแต่ละภูมิภาคของญี่ปุ่น ก็จะมีอาหารที่แตกต่างกันออกไป อาหารที่อยู่ในโอะเซะชิ นั้นจะมีความหมายในทางมงคลต่างๆ เช่น
ถั่วดำเชื่อม = ขอให้มีสุขภาพสมบูรณ์และแข็งแรง
ไข่ปลาคาซุ หรือไข่ปลาแฮริ่ง = เพื่อขอให้มีลูกหลานมากมาย
รากบัว = เพื่อขอให้ปราศจากอุปสรรคต่างๆ
กุ้ง = ขอให้อายุยืนยาว
ปลากะตักแห้ง = ขอให้การเกษตรอุดมสมบูรณ์

โอะเซะชิ จะถูกจัดวางอย่างสวยงาม อยู่ในกล่องสี่เหลี่ยมที่มีสามหรือสี่กล่องที่เรียกว่า จูบะโกะ (重箱) ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับกล่อง เบนโตะ ซึ่ง จูบะโกะ นั้นจะถูกเก็บไว้โดยการซ้อนกัน ชาวญี่ปุ่นจะนิยมรับประทาน โอะเซะชิ-เรียวริ เป็นมื้อแรกของปีพร้อมกับครอบครัว

8. โอโทชิดามะ Otoshidama

เป็นการมอบเงินเพื่อเป็นการเฉลิมฉลองปีใหม่ ซึ่งเป็นธรรมเนียมที่ผู้ใหญ่จะใส่ซองให้เด็กๆเป็นค่าขนมซึ่งจะมากน้อยตามฐานะของแต่ละบ้าน

9. การ์ดอวยพรปีใหม่ เนนกะโจ Nengajo

คนที่มีอายุน้อยกว่าจะส่งการ์ดอวยพรปีใหม่ให้ผู้ที่มีอายุมากกว่าหรือผู้มีพระคุณเรียกว่า เนนกะโจ

10.ถุงโชคดี

นอกจากนี้ตามร้านต่างๆในห้างสรรพสินค้า ในวันที่ 1 มกราคม ก็จะมีถุงโชคดีออกจำหน่ายมากมาย ซึ่งของในถุงก็จะคุ้มราคามากๆค่ะ บางร้านของในถุงมีมูลค่าถึง 30,000-40,000เยนแต่ขายเป็นถุงโชคดีในราคาเพียง 10,000 เท่านั้น ถือว่าคุ้มมากๆเลยล่ะค่ะ สายช็อปห้ามพลาดเลยนะคะ

返信を残す