文章

คนญี่ปุ่นทำอะไรบ้างในช่วงปีใหม่ของญี่ปุ่น (お正月: oshogatsu)

December 30, 2020 沒有評論

1. การประดับตกแต่งในช่วงปีใหม่ (正月飾り: Shogatsu Kazari)

เมื่อใกล้จะถึงวันขึ้นปีใหม่ของทุกปี คนญี่ปุ่นจะมีการทำเครื่องหมายเพื่อเตรียมต้อนรับเทพเจ้า “Toshigami-sama” เข้ามาในบ้านในวันขึ้นปีใหม่ ที่เชื่อกันว่าเทพเจ้านั้นจะนำพืชผลและสุขภาพที่ดีมีความสุขมาสู่ครอบครัวตลอดทั้งปี โดยทั่วไปคนญี่ปุ่นจะมีการประดับประดาตกแต่งตู้แท่นบูชาเทพในบ้านและตรงทางเข้าหน้าบ้าน จุดประสงค์ของการตกแต่งบ้านของคนญี่ปุ่นเพื่อแสดงให้เทพเจ้าประจำปีเห็นว่าเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่เหมาะสำหรับต้อนรับเทพเจ้านั่นเอง

คางามิ โมจิ (鏡餅 : Kagamimochi) 

ของประดับตกแต่งตู้แท่นบูชาในบ้านสำหรับต้อนรับวันขึ้นปีใหม่ ที่ทำออกมาเพื่อบูชาเทพเจ้าแห่งวันปีใหม่ Kagamimochi คือ โมจิ ที่ปั้นเป็นรูปกลมแบนมีสองลูกสองขนาดวางซ้อนกันอยู่(เป็นตัวแทนของพระจันทร์ และ พระอาทิตย์) และข้างบนวางด้วยผลส้มที่ชื่อไดไดจะทำการตั้งไว้ภายในบ้าน เพื่อถวายแด่เทพเจ้าในเทศกาลปีใหม่ จากนั้นเมื่อถึงวันที่ 11 มกราคม ซึ่งเป็นวัน Kagami biraki ชาวญี่ปุ่นก็จะนำโมจิทั้งสองลูกมาทาน เพื่อเป็นสิริมงคลของคนในบ้านตามความเชื่อว่า จะช่วยให้มีอายุให้ยืนยาว

คาโดมัทสึ (門松 : Kadomatsu)

ของประดับตกแต่งบ้าน ในช่วงปีใหม่ของญี่ปุ่นแบบดั้งเดิม เรียกว่า “Kadomatsu” จะวางอยู่เป็นคู่ที่ทางเข้าด้านหน้าที่สองฝั่งของ ประตูบ้านหรืออาคารสำนักงาน เพื่อที่จะต้อนรับ วิญญาณบรรพบุรุษ หรือ เทพเจ้าของการเก็บเกี่ยวและต้อนรับเทพเจ้าแห่งวันปีใหม่ ที่จะนำความสุข และความโชคดี นำสิ่งดีๆมาให้ในปีใหม่ คาโดมัสซึ จะทำจากไม้ไผ่และกิ่งสน โดยการนำต้นไผ่สามต้นมัดรวมกัน แล้วตัดในแนวเฉียงโดยใช้ใบไผ่พันไว้รอบๆหรือ อาจจะเพิ่มเติมสิ่งมงคลอื่นเข้าไป ตามแต่ความนิยมของแต่ละท้องถิ่น


ชิเมะ คาซาริ (しめ飾り : Shime-kazari)

ชิเมะคาซาริ ประกอบด้วยเชือกศักดิ์สิทธิ์ ทำด้วยฟางข้าวนำมามัดกันเป็นฟ่อนใหญ่ๆตามแบบชินโต โดยมีแถบกระดาษสีขาว ที่เรียกว่า ชิเดะ (Shide, 四手/紙垂) ห้อยเป็นพู่ประดับ ตกแต่งด้วย กิ่งไม้ รวงข้าว ส้มไดได กุ้งมังกร ใบเฟิร์น และอื่นๆ
-用不同的漢字(代written)編寫的日語Dai-dai“ daidai”(橙),可以翻譯成“代代相傳”,被認為是一個好兆頭
-蝦是吉祥的象徵長壽
-蕨葉象徵著擁有幸福家庭的希望和渴望。代代相傳
大多數日本人會將Shime Kazari掛在陽台上或入口或後門的外面。象徵你的神通過的方式對於一些受人尊敬的房屋神道教可以用神聖的繩子裝飾。節日結束後,有人會在寺廟或神社焚燒Shime-kazari,並收集骨灰。放置在門口前以驅走惡魔

ชิเมะ คาซาริ จะมีรูปต่างแตกต่างกันไปตามท้องถิ่น

2. การทำความสะอาดใหญ่ของญี่ปุ่น “โอะ โซจิ” (大掃除 : Oosouji)

日本新年節日的大掃除“Ozōji”新年伊始,大多數東亞國家都有類似的傳統。正在清潔清潔用品在新年前夜,按照東方的信念理解將清潔以清除灰塵和運氣不好積累去年的所有的厄運都會被掃除在元旦期間迎接新的一年。日本人將於每年的12月13日開始打掃房屋。這是除夕準備的第一天,這被稱為大掃除。日本人將打掃房間,迎接日本各地到來的新的一年。還會有清潔將清除一年來積累的污垢和厄運也被認為是淨化心靈的一天,在新年之前的12月31日今天將打電話給大晦日(Omisoka),這將在Omisoka Day結束清潔工作在白天和在晚上現在是等待新的一年的時候了。

3. การตีระฆังในช่วงวันส่งท้ายปีเก่า Joya no Kane (除夜の鐘 : Joyano kane : Bell ringing)

日本的除夕鐘聲當進入12月31日晚上時,它將逐漸擊中寺廟的大鐘108次,這在元旦前一天的晚上被稱為“新年鐘”。在日本的寺廟中,新年前有108鈴。直到午夜和午夜鐘聲會一直響到107次進入新的一年,它將是最後一次達到1
被認為可以消除人類中存在的108種邪惡慾望據信,為了迎接新的一年,鐘聲將有助於洗淨罪惡和消除慾望。純潔的心

4. ประเพณีกินโซบะ ในวันสิ้นปี โทชิโคชิโซบะ (年越しそば: Toshikoshi Soba)

เป็นประเพณีที่มีมานาน นับตั้งแต่สมัยเอโดะ โดยจะนำโซบะมารับประทานกัน เพื่อความเป็นสิริมงคล และอธิษฐานขอพร “ขอให้มีชีวิตอยู่อย่างยืนยาว และแข็งแรง” อาจจะเนื่องจากเส้น โซบะ นั้นมีลักษณะเป็เส้นยาว จึงทำให้มีความเชื่อกันว่า เป็นการขอพรให้มีสุขภาพดีและมีชีวิตที่ยืนยาว เหมือนเส้นโซบะ โดยจะต้องทานให้หมดเกลี้ยง ก่อนเที่ยงคืน ถ้าหากกินข้ามคืน และทานไม่หมด สิ่งต่างๆก็จะหยุดชะงักลงจะไม่เป็นมงคล

5. ฮัตสึโมเดะ Hatsu Moude (初詣)

เป็นคำเรียกการไปไหว้พระช่วงปีใหม่ของที่ญี่ปุ่น คล้ายๆคนไทยเราที่ไปไหว้พระช่วงปีใหม่ ตักบาตรทำบุญ คนญี่ปุ่นเองก็ทำเหมือนกัน แต่เค้าจะเริ่มกันตั้งแต่ช่วงดึกของวันที่ 31 ธันวาคมเลย ส่วนใหญ่ก็จะไปเข้าแถวรอกันตั้งแต่ดึก เพื่อให้ได้ไหว้กันตอนเช้าปีใหม่ แล้วปริมาณคนที่ไปนี่ก็ไม่ใช่น้อยๆ ถ้าเป็นวัดหรือศาลเจ้ายอดฮิต ต่อแถวกัน5-6ชั่วโมงเลยก็มี นอกจากไปต่อแถวไหว้พระปีใหม่ตอนกลางดึกคืนสิ้นปีแล้ว เทศกาลไหว้พระปีใหม่ของคนญี่ปุ่นก็จะยาวต่อเนื่องกัน 3 วันแรกของปีเลย นอกจากจะไปไหว้พระเพื่อขอพรแล้ว ก็จะนำโอมาโมริ (เครื่องราง) อันเก่าไปฝากที่ศาลเจ้าเพื่อทำลายและซื้อเครื่องรางชิ้นใหม่กันค่ะ
如何向神社致敬,鞠躬兩次,拍手兩次,再次鞠躬。至於聖殿的祝福,讓帕儂像往常一樣向佛陀表示敬意。
在新年期間,熱門的寺廟會去。日本人喜歡最熱門方便旅行,有3個推薦地點

1.明治神宮明治神宮
這座神社建於1920年,以紀念明治天皇和他的妻子。在日本祭祀活動中,有34年之久的新年祭拜活動次數最多的日本神社“正庚女皇”。今年的第一句咒語(hatsumode)也是以其傳統神道婚禮而聞名的神社。最重要的是,慶祝了愛的願望。許多夫婦也來這座寺廟舉行儀式。
旅遊
1.火車山手線,在原宿站下車,右轉。經過一會兒步行,您將找到神社的入口。
2.地鐵,編織Jiyoda,然後在明治神宮前站下車。


2.成田山新勝寺成田山新勝寺成田山新勝寺
千葉縣成田市的寺廟是一座建築精美的寺廟。在元旦那天,大約有300萬人來祈福,這是人們最受歡迎的寺廟,人們在明治神宮之後向第二名致敬。內部採用印度佛教建築構造,仍然保留了日本藝術的獨特性。每年,遊客來這裡拜訪“聖火神”(Luang Pho)“福多摩”(Fudomyo)。並因祝福而免受各種意外傷害另一個突出的特點是名為Somon的入口是在1,070週年慶典之際建造的。
旅遊
1.成田線成田站下車
2.乘坐京成本線,在京成成田站下車。


3.淺草寺
淺草寺,所有遊客都去過的受歡迎的寺廟在這座廟宇中,人們也非常重視新年,來此的人數為285萬人。
旅遊
您可以乘許多火車在淺草站下車,然後再走一點。

ส่วนเครื่องรางโอมาโมรินั้นก็มีหลากหลายแบบ เช่
「家内安全 (ครอบครัวแคล้วคลาดปลอดภัย)」
「交通安全 (เดินทางปลอดภัย)」
「学業成就 (ประสบความสำเร็จด้านการเรียน)」
「合格祈願 (สอบผ่าน)」
「安産守り (คลอดลูกปลอดภัย)」
「身代わり守り (เครื่องรางตัวแทน)」เป็นต้น

เราสามารถซื้อตามเรื่องที่ตัวเองปรารถนาได้เลยค่ะ

6. ชมพระอาทิตย์แรกของปี “ฮัตซึฮิโนะเดะ” (初日の出 : Hatsuhinode)

日本人相信觀看一年中的第一個太陽有聖潔的力量這一傳統始於明治時期(1868-1912),向僧侶致敬。會一起旅行
有些人會沿著山或海去看1月1日早晨新的一年的第一天的陽光,並祈求家人全年幸福快樂。

7. อาหารปีใหม่ของชาวญี่ปุ่น โอะเซะชิ-เรียวริ (お節料理 : Osechi-ryori)

อาหารสำหรับเทศกาลปีใหม่ในญี่ปุ่น เป็นขนบประเพณีที่มีมาตั้งแต่ยุคเฮอัง สามวันหลังวันขึ้นปีใหม่ ชาวญี่ปุ่นจะรับประทานอาหารในเทศกาลปีใหม่ ที่เรียกว่า “โอะเซะชิ-เรียวริ”
โอะเซะชิ-เรียวริ เป็นอาหารที่รับประทานในช่วงปีใหม่ของญี่ปุ่น ทำขึ้นมาเพื่อแสดงความยินดี ประเพณีโอะเซะชิ-เรียวริ นี้มีที่มาจากประเทศจีน และได้เข้ามาเผยแพร่ในประเทศญี่ปุ่น มีจำนวนอาหารมากมายหลายชนิด มีทั้งอาหารแบบแห้ง ซึ่งเป็นอาหารที่เก็บได้นานและแบบปรุงแต่ง และอาจจะมีการดองในเหล้าด้วย เป็นต้น ซึ่งในแต่ละภูมิภาคของญี่ปุ่น ก็จะมีอาหารที่แตกต่างกันออกไป อาหารที่อยู่ในโอะเซะชิ นั้นจะมีความหมายในทางมงคลต่างๆ เช่น
ถั่วดำเชื่อม = ขอให้มีสุขภาพสมบูรณ์และแข็งแรง
ไข่ปลาคาซุ หรือไข่ปลาแฮริ่ง = เพื่อขอให้มีลูกหลานมากมาย
รากบัว = เพื่อขอให้ปราศจากอุปสรรคต่างๆ
กุ้ง = ขอให้อายุยืนยาว
ปลากะตักแห้ง = ขอให้การเกษตรอุดมสมบูรณ์
等等

โอะเซะชิ จะถูกจัดวางอย่างสวยงาม อยู่ในกล่องสี่เหลี่ยมที่มีสามหรือสี่กล่องที่เรียกว่า จูบะโกะ (重箱) ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับกล่อง เบนโตะ ซึ่ง จูบะโกะ นั้นจะถูกเก็บไว้โดยการซ้อนกัน ชาวญี่ปุ่นจะนิยมรับประทาน โอะเซะชิ-เรียวริ เป็นมื้อแรกของปีพร้อมกับครอบครัว

8. โอโทชิดามะ Otoshidama

เป็นการมอบเงินเพื่อเป็นการเฉลิมฉลองปีใหม่ ซึ่งเป็นธรรมเนียมที่ผู้ใหญ่จะใส่ซองให้เด็กๆเป็นค่าขนมซึ่งจะมากน้อยตามฐานะของแต่ละบ้าน

9. การ์ดอวยพรปีใหม่ เนนกะโจ Nengajo

คนที่มีอายุน้อยกว่าจะส่งการ์ดอวยพรปีใหม่ให้ผู้ที่มีอายุมากกว่าหรือผู้มีพระคุณเรียกว่า เนนกะโจ

10.ถุงโชคดี

นอกจากนี้ตามร้านต่างๆในห้างสรรพสินค้า ในวันที่ 1 มกราคม ก็จะมีถุงโชคดีออกจำหน่ายมากมาย ซึ่งของในถุงก็จะคุ้มราคามากๆค่ะ บางร้านของในถุงมีมูลค่าถึง 30,000-40,000เยนแต่ขายเป็นถุงโชคดีในราคาเพียง 10,000 เท่านั้น ถือว่าคุ้มมากๆเลยล่ะค่ะ สายช็อปห้ามพลาดเลยนะคะ

發表評論