L'article

คนญี่ปุ่นทำอะไรบ้างในช่วงปีใหม่ของญี่ปุ่น (お正月: oshogatsu)

Par December 30, 2020 Aucun commentaire

1. การประดับตกแต่งในช่วงปีใหม่ (正月飾り: Shogatsu Kazari)

เมื่อใกล้จะถึงวันขึ้นปีใหม่ของทุกปี คนญี่ปุ่นจะมีการทำเครื่องหมายเพื่อเตรียมต้อนรับเทพเจ้า “Toshigami-sama” เข้ามาในบ้านในวันขึ้นปีใหม่ ที่เชื่อกันว่าเทพเจ้านั้นจะนำพืชผลและสุขภาพที่ดีมีความสุขมาสู่ครอบครัวตลอดทั้งปี โดยทั่วไปคนญี่ปุ่นจะมีการประดับประดาตกแต่งตู้แท่นบูชาเทพในบ้านและตรงทางเข้าหน้าบ้าน จุดประสงค์ของการตกแต่งบ้านของคนญี่ปุ่นเพื่อแสดงให้เทพเจ้าประจำปีเห็นว่าเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่เหมาะสำหรับต้อนรับเทพเจ้านั่นเอง

คางามิ โมจิ (鏡餅 : Kagamimochi) 

ของประดับตกแต่งตู้แท่นบูชาในบ้านสำหรับต้อนรับวันขึ้นปีใหม่ ที่ทำออกมาเพื่อบูชาเทพเจ้าแห่งวันปีใหม่ Kagamimochi คือ โมจิ ที่ปั้นเป็นรูปกลมแบนมีสองลูกสองขนาดวางซ้อนกันอยู่(เป็นตัวแทนของพระจันทร์ และ พระอาทิตย์) และข้างบนวางด้วยผลส้มที่ชื่อไดไดจะทำการตั้งไว้ภายในบ้าน เพื่อถวายแด่เทพเจ้าในเทศกาลปีใหม่ จากนั้นเมื่อถึงวันที่ 11 มกราคม ซึ่งเป็นวัน Kagami biraki ชาวญี่ปุ่นก็จะนำโมจิทั้งสองลูกมาทาน เพื่อเป็นสิริมงคลของคนในบ้านตามความเชื่อว่า จะช่วยให้มีอายุให้ยืนยาว

คาโดมัทสึ (門松 : Kadomatsu)

ของประดับตกแต่งบ้าน ในช่วงปีใหม่ของญี่ปุ่นแบบดั้งเดิม เรียกว่า “Kadomatsu” จะวางอยู่เป็นคู่ที่ทางเข้าด้านหน้าที่สองฝั่งของ ประตูบ้านหรืออาคารสำนักงาน เพื่อที่จะต้อนรับ วิญญาณบรรพบุรุษ หรือ เทพเจ้าของการเก็บเกี่ยวและต้อนรับเทพเจ้าแห่งวันปีใหม่ ที่จะนำความสุข และความโชคดี นำสิ่งดีๆมาให้ในปีใหม่ คาโดมัสซึ จะทำจากไม้ไผ่และกิ่งสน โดยการนำต้นไผ่สามต้นมัดรวมกัน แล้วตัดในแนวเฉียงโดยใช้ใบไผ่พันไว้รอบๆหรือ อาจจะเพิ่มเติมสิ่งมงคลอื่นเข้าไป ตามแต่ความนิยมของแต่ละท้องถิ่น


ชิเมะ คาซาริ (しめ飾り : Shime-kazari)

ชิเมะคาซาริ ประกอบด้วยเชือกศักดิ์สิทธิ์ ทำด้วยฟางข้าวนำมามัดกันเป็นฟ่อนใหญ่ๆตามแบบชินโต โดยมีแถบกระดาษสีขาว ที่เรียกว่า ชิเดะ (Shide, 四手/紙垂) ห้อยเป็นพู่ประดับ ตกแต่งด้วย กิ่งไม้ รวงข้าว ส้มไดได กุ้งมังกร ใบเฟิร์น และอื่นๆ
- Dai-dai japonais "daidai" (橙), écrit en différents kanji (代 々), peut être traduit par "de génération en génération", ce qui est considéré comme un bon présage
- La crevette est un symbole de bon augure De longévité
- La feuille de fougère est un symbole d'espoir et de désir d'avoir une famille heureuse. De génération en génération
La plupart des Japonais accrochent Shime Kazari sur le balcon ou à l'extérieur de l'entrée ou de la porte arrière. Pour symboliser le chemin de passage de votre dieu Pour certaines maisons respectées La religion shinto peut être décorée avec une corde sacrée. Ou Shime-nawa (し め 縄). Une fois le festival terminé, certaines personnes brûleront Shime-kazari dans un temple ou un sanctuaire et ramasseront les cendres. Placé devant la porte pour chasser les mauvais esprits

ชิเมะ คาซาริ จะมีรูปต่างแตกต่างกันไปตามท้องถิ่น

2. การทำความสะอาดใหญ่ของญี่ปุ่น “โอะ โซจิ” (大掃除 : Oosouji)

"Ozōji", un grand nettoyage au festival du Nouvel An japonais La plupart des pays d'Asie de l'Est, à l'occasion du Nouvel An, ont une tradition similaire. Nettoie Le nettoyage Signification selon les croyances orientales, la veille du nouvel an Nettoie pour balayer la saleté et Pas de chance d'accumuler De la dernière année Toute malchance sera balayée Au cours de la nouvelle année pour accueillir la nouvelle année à venir. Les Japonais commenceront à nettoyer la maison le 13 décembre de chaque année. C'est le premier jour de préparation pour le réveillon du Nouvel An, connu sous le nom de grand nettoyage. Les Japonais nettoieront la maison pour accueillir la nouvelle année qui viendra partout au Japon. Il y aura du nettoyage en plus Va balayer la saleté et la malchance qui se sont accumulées toute l'année Également considéré comme une journée pour purifier l'esprit également, et pendant le 31 décembre avant la nouvelle année Appellera aujourd'hui Omisoka (大 晦 日), qui terminera le nettoyage le jour d'Omisoka Dans la journée et La nuit Ce sera un temps d'attente pour accueillir la nouvelle année à venir.

3. การตีระฆังในช่วงวันส่งท้ายปีเก่า Joya no Kane (除夜の鐘 : Joyano kane : Bell ringing)

Les cloches du Nouvel An au Japon En entrant dans la nuit du 31 décembre, il frappera progressivement 108 fois les grosses cloches du temple, appelé "cloche du Nouvel An" la veille du jour de l'An. Dans les temples du Japon, il y a 108 cloches de cérémonie, avant le nouvel an. Des cloches sonneront jusqu'à 107 fois jusqu'à minuit et à minuit En entrant dans la nouvelle année, il en frappera 1 de plus pour la dernière fois
Considéré pour bannir 108 désirs diaboliques qui existent chez l'homme On pense que les carillons aideront à laver les péchés et à éliminer la luxure afin d'accueillir la nouvelle année. Avec un esprit pur

4. ประเพณีกินโซบะ ในวันสิ้นปี โทชิโคชิโซบะ (年越しそば: Toshikoshi Soba)

เป็นประเพณีที่มีมานาน นับตั้งแต่สมัยเอโดะ โดยจะนำโซบะมารับประทานกัน เพื่อความเป็นสิริมงคล และอธิษฐานขอพร “ขอให้มีชีวิตอยู่อย่างยืนยาว และแข็งแรง” อาจจะเนื่องจากเส้น โซบะ นั้นมีลักษณะเป็เส้นยาว จึงทำให้มีความเชื่อกันว่า เป็นการขอพรให้มีสุขภาพดีและมีชีวิตที่ยืนยาว เหมือนเส้นโซบะ โดยจะต้องทานให้หมดเกลี้ยง ก่อนเที่ยงคืน ถ้าหากกินข้ามคืน และทานไม่หมด สิ่งต่างๆก็จะหยุดชะงักลงจะไม่เป็นมงคล

5. ฮัตสึโมเดะ Hatsu Moude (初詣)

เป็นคำเรียกการไปไหว้พระช่วงปีใหม่ของที่ญี่ปุ่น คล้ายๆคนไทยเราที่ไปไหว้พระช่วงปีใหม่ ตักบาตรทำบุญ คนญี่ปุ่นเองก็ทำเหมือนกัน แต่เค้าจะเริ่มกันตั้งแต่ช่วงดึกของวันที่ 31 ธันวาคมเลย ส่วนใหญ่ก็จะไปเข้าแถวรอกันตั้งแต่ดึก เพื่อให้ได้ไหว้กันตอนเช้าปีใหม่ แล้วปริมาณคนที่ไปนี่ก็ไม่ใช่น้อยๆ ถ้าเป็นวัดหรือศาลเจ้ายอดฮิต ต่อแถวกัน5-6ชั่วโมงเลยก็มี นอกจากไปต่อแถวไหว้พระปีใหม่ตอนกลางดึกคืนสิ้นปีแล้ว เทศกาลไหว้พระปีใหม่ของคนญี่ปุ่นก็จะยาวต่อเนื่องกัน 3 วันแรกของปีเลย นอกจากจะไปไหว้พระเพื่อขอพรแล้ว ก็จะนำโอมาโมริ (เครื่องราง) อันเก่าไปฝากที่ศาลเจ้าเพื่อทำลายและซื้อเครื่องรางชิ้นใหม่กันค่ะ
Comment rendre hommage au sanctuaire, s'incliner deux fois, taper des mains deux fois et s'incliner à nouveau. Quant à la bénédiction au temple, que les mains de Phanom rendent hommage au Bouddha comme d'habitude.
Les temples populaires vont pendant le nouvel an. Que les Japonais aiment aller au top hit Et facile à parcourir. Il y a 3 endroits recommandés

1. Sanctuaire Meiji-jinku 明治 神宮
Ce sanctuaire a été construit en 1920 en mémoire de l'empereur Meiji et de sa femme. "Impératrice Shogeng" et est le sanctuaire au Japon qui a le plus grand nombre d'adoration pendant le festival du Nouvel An depuis longtemps pendant 34 ans. Il y a environ 3,1 millions de personnes qui viennent adorer à venir. Le premier mantra de l'année (hatsumode) est également un sanctuaire célèbre pour son mariage shinto traditionnel. Plus important encore, a célébré le souhait de l'amour. De nombreux couples viennent également pour organiser des cérémonies dans ce temple.
Voyage
1. Train Yamanote Line, descendez à Harajuku Station, tournez à droite. Après avoir marché un peu, vous trouverez l'entrée du sanctuaire.
2. Métro, tissez Jiyoda et descendez à la station Meiji-jinku mae.


2. Temple Narita-san Shinshoji Naritasan-shinshouji 成 田 山 新 勝 寺
Le temple de la ville de Narita, préfecture de Chiba est un temple à la belle architecture. Le jour du Nouvel An, il y a environ 3 millions de personnes qui viennent demander des bénédictions, ce qui est considéré comme le temple le plus populaire où les gens rendent hommage à la 2e place après le sanctuaire Meiji. L'intérieur est construit avec une architecture bouddhiste indienne qui conserve encore le caractère unique de l'art japonais. Dans lequel, chaque année, les touristes viennent demander des bénédictions à Luang Pho "Fudomyo" (le dieu du feu) saint Et connu pour sa bénédiction d'être à l'abri de divers accidents Une autre caractéristique remarquable est L'entrée, nommée Somon, a été construite à l'occasion de la célébration du 1070 anniversaire.
Voyage
1. Narita Line descend à la station Narita
2. Train Keisei Main line et descendez à la station Keisei-Narita.


3. Temple Asakusa Dera 浅 草 寺
Temple d'Asakusa, un temple populaire que tous les touristes ont visité Dans ce temple, il est également populaire de rendre hommage à la nouvelle année. Le nombre de personnes venant est de 2,85 millions.
Voyage
Vous pouvez prendre de nombreux trains et descendre à la gare d'Asakusa et marcher un peu plus loin.

ส่วนเครื่องรางโอมาโมรินั้นก็มีหลากหลายแบบ เช่Pourquoi
「家内安全 (ครอบครัวแคล้วคลาดปลอดภัย)」
「交通安全 (เดินทางปลอดภัย)」
「学業成就 (ประสบความสำเร็จด้านการเรียน)」
「合格祈願 (สอบผ่าน)」
「安産守り (คลอดลูกปลอดภัย)」
「身代わり守り (เครื่องรางตัวแทน)」เป็นต้น

เราสามารถซื้อตามเรื่องที่ตัวเองปรารถนาได้เลยค่ะ

6. ชมพระอาทิตย์แรกของปี “ฮัตซึฮิโนะเดะ” (初日の出 : Hatsuhinode)

Les Japonais croient que Regarder le premier soleil de l'année A un pouvoir sacré Cette tradition a commencé dans la période Meiji (1868-1912) après avoir rendu hommage aux moines. Voyager ensemble
Certains iront le long des montagnes ou de la mer pour voir le premier soleil du nouvel an le matin du 1er janvier et prieront pour que la famille soit heureuse et en bonne santé tout au long de l'année.

7. อาหารปีใหม่ของชาวญี่ปุ่น โอะเซะชิ-เรียวริ (お節料理 : Osechi-ryori)

อาหารสำหรับเทศกาลปีใหม่ในญี่ปุ่น เป็นขนบประเพณีที่มีมาตั้งแต่ยุคเฮอัง สามวันหลังวันขึ้นปีใหม่ ชาวญี่ปุ่นจะรับประทานอาหารในเทศกาลปีใหม่ ที่เรียกว่า “โอะเซะชิ-เรียวริ”
โอะเซะชิ-เรียวริ เป็นอาหารที่รับประทานในช่วงปีใหม่ของญี่ปุ่น ทำขึ้นมาเพื่อแสดงความยินดี ประเพณีโอะเซะชิ-เรียวริ นี้มีที่มาจากประเทศจีน และได้เข้ามาเผยแพร่ในประเทศญี่ปุ่น มีจำนวนอาหารมากมายหลายชนิด มีทั้งอาหารแบบแห้ง ซึ่งเป็นอาหารที่เก็บได้นานและแบบปรุงแต่ง และอาจจะมีการดองในเหล้าด้วย เป็นต้น ซึ่งในแต่ละภูมิภาคของญี่ปุ่น ก็จะมีอาหารที่แตกต่างกันออกไป อาหารที่อยู่ในโอะเซะชิ นั้นจะมีความหมายในทางมงคลต่างๆ เช่น
ถั่วดำเชื่อม = ขอให้มีสุขภาพสมบูรณ์และแข็งแรง
ไข่ปลาคาซุ หรือไข่ปลาแฮริ่ง = เพื่อขอให้มีลูกหลานมากมาย
รากบัว = เพื่อขอให้ปราศจากอุปสรรคต่างๆ
กุ้ง = ขอให้อายุยืนยาว
ปลากะตักแห้ง = ขอให้การเกษตรอุดมสมบูรณ์
etc.

โอะเซะชิ จะถูกจัดวางอย่างสวยงาม อยู่ในกล่องสี่เหลี่ยมที่มีสามหรือสี่กล่องที่เรียกว่า จูบะโกะ (重箱) ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับกล่อง เบนโตะ ซึ่ง จูบะโกะ นั้นจะถูกเก็บไว้โดยการซ้อนกัน ชาวญี่ปุ่นจะนิยมรับประทาน โอะเซะชิ-เรียวริ เป็นมื้อแรกของปีพร้อมกับครอบครัว

8. โอโทชิดามะ Otoshidama

เป็นการมอบเงินเพื่อเป็นการเฉลิมฉลองปีใหม่ ซึ่งเป็นธรรมเนียมที่ผู้ใหญ่จะใส่ซองให้เด็กๆเป็นค่าขนมซึ่งจะมากน้อยตามฐานะของแต่ละบ้าน

9. การ์ดอวยพรปีใหม่ เนนกะโจ Nengajo

คนที่มีอายุน้อยกว่าจะส่งการ์ดอวยพรปีใหม่ให้ผู้ที่มีอายุมากกว่าหรือผู้มีพระคุณเรียกว่า เนนกะโจ

10.ถุงโชคดี

นอกจากนี้ตามร้านต่างๆในห้างสรรพสินค้า ในวันที่ 1 มกราคม ก็จะมีถุงโชคดีออกจำหน่ายมากมาย ซึ่งของในถุงก็จะคุ้มราคามากๆค่ะ บางร้านของในถุงมีมูลค่าถึง 30,000-40,000เยนแต่ขายเป็นถุงโชคดีในราคาเพียง 10,000 เท่านั้น ถือว่าคุ้มมากๆเลยล่ะค่ะ สายช็อปห้ามพลาดเลยนะคะ

Laisser une réponse